Knowledge

ขวดน้ำดื่มแช่แข็งมีสารอันตราย จริงหรือ ?

2024-05-02T15:22:40+07:0002/05/2024|Knowledge|

ขวดน้ำดื่มแช่แข็งมีสารอันตราย จริงหรือ ? #ขวดน้ำ #ขวดน้ำแช่เย็น #ขวดน้ำแช่แข็ง #ขวดน้ำแข็ง #ขวดน้ําแข็งคลายความร้อน #น้ำแข็ง #น้ำเย็น #น้ำเปล่า #อากาศร้อน #ร้อน #พลาสติก #ข่าวสุขภาพ #ข่าวtiktok #ชัวร์ก่อนแชร์ เครดิต ...

นวัตกรรมเปลี่ยนขวดพลาสติกเป็น “วัสดุนาโนขั้นสูง”

2023-09-22T10:00:16+07:0022/09/2023|Knowledge|

ปัจจุบัน มีปริมาณการใช้ขวดน้ำที่ทำจาก พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene Terephthalate: PET) เพิ่มสูงขึ้นจนทำให้เกิด “ขยะขวดพลาสติก” เป็นจำนวนมหาศาล สู่การคิดค้น นวัตกรรมเปลี่ยนขวดพลาสติก ให้กลายเป็น “วัสดุนาโนขั้นสูง” หรือ MOFs (วัสดุโครงข่ายโลหะอินทรีย์) ใช้ดักจับและกักเก็บ “คาร์บอนไดออกไซด์” (CO2) ...

plastic bottle robe Help reduce waste measured from red.

2022-10-11T14:13:22+07:0011/10/2022|Knowledge|

            เปิดไอเดียรักษ์โลกที่วัดจากแดง จ.สมุทรปราการ สามารถแปรรูปขวดพลาสติกเหลือใช้ กลับมาเป็นจีวรจากพลาสติกให้กับพระสงฆ์ โดยขอรับบริจาคจำนวนมาก และกลายเป็นหนึ่งในช่องทางลดขยะ และกระแสนิยมทำบุญลดโลกร้อน ไทยพีบีเอส พาไปดูวัดรักษ์โลก ที่สามารถนำขวดพลาสติกมาผลิตเป็นจีวร โดยเรื่องนี้เกิดจากความคิดของพระมหาประนอม ธัมมาลังกาโร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดจากแดง จ.สมุทรปราการ ...

The doctor pointed out that drinking bottled water stored in the car for a long time does not cause toxic substances.

2022-10-11T14:09:46+07:0011/10/2022|Knowledge|

วันที่ 2 มิถุนายน นพ.อภิชัย มงคล อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข(สธ.) เปิดเผยว่า ขณะนี้มีกระแสข่าวจากสื่อสังคมออนไลน์เตือนให้หลีกเลี่ยงการบริโภคน้ำดื่มบรรจุขวดพลาสติก ที่เก็บในหลังรถยนต์และจอดกลางแดดโดยมีโอกาสได้รับสารไดออกซินที่แพร่ออกมาจากขวดน้ำพลาสติกเนื่องจากอากาศร้อนจัดอาจทำให้เกิดมะเร็งเต้านมหรือมะเร็งอื่นๆ ได้ ทำให้ผู้บริโภคเกิดความตื่นกลัว ถึงอันตรายจากการดื่มน้ำบรรจุ ขวดพลาสติก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยสำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร ซึ่งมีภารกิจ ในการวิเคราะห์ วิจัยทางด้านไดออกซิน ...

BPA plastic Not just in milk bottles

2022-10-11T14:08:43+07:0011/10/2022|Knowledge|

หลังจากที่เป็นข่าวสู่สาธารณะ ว่า สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ไม่อนุญาตให้ใช้พลาสติกพอลิคาร์บอเนตมาทำเป็นขวดนม รวมทั้งภาชนะบรรจุนมสำหรับทารกและเด็กเล็ก นับตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2558 เป็นต้นไป แม่ๆ อาจจะดีใจว่าลูกของตนจะได้ใช้ขวดนมที่ปลอดภัยจากสารบิสฟีนอลเอ (บีพีเอ) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการผลิตพลาสติกชนิดพอลิคาร์บอเนต แต่โปรดอย่าเพิ่งชะล่าใจ อย. ได้ให้ข้อมูลการศึกษาในสัตว์ทดลอง ว่า ...

Go to Top